เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น

ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ...............
แบบทดสอบก่อนเรียน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  ระบบเครือข่ายเบื้องต้น  หน่วยการเรียนรู้ที่ 2  สื่อกลางในการส่งข้อมูล 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  การเชื่อมต่อเครือข่าย  หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ก.  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน                                       ข.  มีอุปกรณ์ใช้งานที่ทันสมัย
ค.  เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของการประมวลผล                  ง.  ประหยัดงบประมาณ
2.  ข้อใด ไม่ใช่ เกณฑ์การวัดประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย
ก.  สมรรถนะ                 ข.  ความน่าเชื่อถือ                      ค.  ขนาดของเครือข่าย                ง.  ความปลอดภัยของข้อมูล
3.  ลักษณะที่สำคัญของระบบเครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ
ก.  คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีสิทธิเท่าเทียมกัน                      ข.  คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเป็นผู้ให้และผู้รับบริการ
ค.  เป็นเครือข่ายขนาดเล็ก                                               ง.  มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์
4.  ข้อใดเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ก.  เครื่องคอมพิวเตอร์                ข.  แผนวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย                 ค.  สื่อกลางในการส่งข้อมูล         ง.  ถูกทุกข้อ
5.  ข้อใดเป็นกฎเกณฑ์การวัดสมรรถนะของระบบเครือข่าย
ก.  จำนวนผู้ใช้งาน                      ข.  ฮาร์ดแวร์                                          ค.  ซอฟแวร์                               ง.  ถูกทุกข้อ
6.  สื่อกลางชนิดใดมีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูงที่สุด
ก.  สายคู่ตีเกลียวมีฉนวนหุ้ม                                            ข.  สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม
ค.  สายโคแอกเชียล                                                        ง.  สายใยแก้วนำแสง
7.  การส่งสัญญาณข้อมูลด้วยความถี่สูงเป็นทอด ๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งคือระบบใด
ก.  ระบบไมโครเวฟ                     ข.  แสงอินฟาเรด                        ค.  ระบบสื่อสารวิทยุ                   ง.  ถูกทุกข้อ
8.  สายคู่เกลียวนิยมใช้ส่งสัญญาณข้อมูลประเภทใด
ก.  สัญญาณดิจิตอลอย่างเดียว                                        ข.  สัญญาณอนาล็อกอย่างเดียว
ค.  สัญญาณดิจิตอลและสัญญาณอนาล็อก                       ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
9.  ข้อใด ไม่ใช่ สื่อกลางประเภทกำหนดเส้นทางได้
ก.  สายคู่ตีเกลียว                       ข.  สายโคแอกเชียล                    ค.  คลื่นไมโครเวฟ                      ง.  สายใยแก้วนำแสง
10.  อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับ – ส่ง และขยายสัญญาณในระบบดาวเทียม เรียกว่าอะไร
ก.  Cladding                               ข.  Transponder                          ค.  Uplink                                  ง.  Downlink
11.  ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด
ก.  เชื่อมสื่อกลางเข้ากับอุปกรณ์สองเครื่อง                                    ข.  ส่งข้อมูลเป็นทอด ๆ จนถึงปลายทาง
ค.  ข้อมูลที่ส่งต้องระบุตำแหน่งผู้รับ                                  ง.  สื่อกลางถูกจองการใช้งานตลอดเวลา


12.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Multi – drop
ก.  ใช้สายสัญญาณหลัก 1 เส้น                                         ข.  ใช้สายสัญญาณต่อเป็นทอด ๆ เชิงเส้นตรง
ค.  มีอุปกรณ์รวมสัญญาณ                                              ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
13.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Daisy Chain
ก.  ใช้สายสัญญาณหลัก 1 เส้น                                         ข.  ใช้สายสัญญาณต่อเป็นทอด ๆ เชิงเส้นตรง
ค.  มีอุปกรณ์รวมสัญญาณ                                              ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
14.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Star Hub
ก.  ส่งข้อมูลแบบแพร่กระจาย                                          ข.  ส่งข้อมูลโดยระบุตำแหน่งผู้รับ
ค.  ส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอ                                            ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
15.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Switched Hub
ก.  ส่งข้อมูลแบบแพร่กระจาย                                          ข.  ส่งข้อมูลโดยระบุตำแหน่งผู้รับ
ค.  ส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอ                                            ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
16.  ข้อใดกล่าวถึงระบบปฏิบัติการเครือข่ายได้ถูกต้อง
ก.  ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ในเครือข่าย                   ข.  เป็นซอฟแวร์ชนิดหนึ่ง
ค.  ต้องใช้งานร่วมกับระบบปฏิบัติการทั่ว ๆ ไป                   ง.  ถูกทุกข้อ
17.  Microsoft Windows Server ใช้เทคโนโลยีในการแชร์ไฟล์โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก.  NTFS                       ข.  Web DAV                  ค.  Webmin                   ง.  WWW
18.  Mail Server ในระบบ Microsoft Windows Server สามารถรองรับโพรโตคอลประเภทใด
ก.  SMTP                       ข.  POP3                       ค.  ถูกทั้งข้อ ก.และข้อ ข.                        ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
19.  ข้อใด ไม่ใช่ เครื่องมือที่ช่วยในการจัดการดูแลระบบในระบบปฏิบัติการเครือข่ายลีนุกซ์
ก.  GNOME                    ข.  Linuxconf                 ค.  MMC                                   ง.  Webmin
20.  การบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตของลีนุกซ์ เซิร์ฟเวอร์ใดที่นิยมใช้มากที่สุด
ก.  Apache                    ข.  POP3                       ค.  DHCP                                   ง.  FTP


คะแนนเต็ม  .................  คะแนน  คะแนนที่ได้  ..................  คะแนน     ลงชื่อ  .............................................................  ผู้ตรวจ 


ใบความรู้  วิชะบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ที่เป็นอิสระต่อกันตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันด้วยสื่อกลางประเภทใดประเภทหนึ่ง โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันได้ทั้งในระยะใกล้และระยะไกล
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และฐานข้อมูลร่วมกัน
2.  เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือและประสิทธิภาพของการประมวลผล
3.  ประหยัดงบประมาณ
4.  การขยายระบบคอมพิวเตอร์ทำได้ง่าย
5.  ทำให้มีการประมวลผลแบบกระจาย
6.  ทำให้อุปกรณ์ที่มีความแตกต่างกัน สามารถทำงานร่วมกันได้
องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 2ส่วนคือ
1.  เครือข่ายย่อยส่วนของผู้ใช้ (User Subnetwork)
2.  เครือข่ายย่อยส่วนของการสื่อสาร (Communication Subnetwork)
เครือข่ายย่อยส่วนของผู้ใช้ แบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี้
1. โฮสต์คอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ในการเก็บฐานข้อมูลต่าง ๆ และซอฟแวร์ประยุกต์ สำหรับให้ผู้ใช้งาน สามารถเรียกใช้งานได้
2.  เทอร์มินัล  ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าโดยที่ผู้ใช้งานทำการป้อนข้อมูลเข้ามา และสแดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
3.  ตัวควบคุมเทอร์มินัล  ทำหน้าที่ ควบคุมเทอร์มินัลต่าง ๆ ให้สามารถทำการับ – ส่ง ข้อมูลได้โดยไม่ให้เกิดการชนกันของข้อมูล ทำการรวบรวมข้อมูลจากเทอร์มินัลต่าง ๆ แล้วทำการส่งออกไปพร้อม ๆ กัน เป็นตัวเชื่อมประสานให้แก่เทอร์มินัลต่าง ๆ
เครือข่ายย่อยส่วนของการสื่อสาร ทำหน้าที่ 3 ส่วน ดังนี้
1.  โหนดของเครือข่าย ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมประสานกับเครือข่ายย่อยส่วนของผู้ใช้ เพื่อให้การส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
2.  สื่อกลางในการส่งข้อมูล ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล ตัวอย่างเช่น สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวฟ ดาวเทียม
3.  ตัวแปลงสัญญาณ ทำหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูลให้เป็นสัญญาณที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถส่งผ่านสื่อกลางได้ เช่น โมเด็ม
ส่วนประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.  เครื่องคอมพิวเตอร์  การเชื่อมต่อไม่จำเป็นต้องเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทเดียวกัน
2.  แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงข้อมูลให้เป็นสัญญาณต่าง ๆ เพื่อส่งสัญญาณนั้นไปในสื่อกลางซึ่งแผนวงจรเชื่อมต่อเครือข่ายแต่ละชนิดอาจใช้ได้กับสื่อกลางต่างกัน และมีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลต่างกัน
3.  สื่อกลางในการส่งข้อมูลและอุปกรณ์ต่าง ๆ ทำหน้าที่เป็นตัวกลางรับส่งข้อมูลต่าง ๆ ในเครือข่าย
4.  โพรโตคอล มาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่ายโดยที่โพรโตคอลนี้จะทำหน้าที่ควบคุมการรับส่งข้อมูล กำหนดวิธีการรับส่งข้อมูล กำหนดเส้นทางในการส่งข้อมุลและตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
5.  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย เป็นซอฟแวร์ที่ทำหน้าที่บริหารและจัดการการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การจำแนกระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตามขนาดทางกายภาพ
1.  ระบบเครือข่ายท้องถิ่น Local Area Nework : LAN ครอบคลุมพื้นที่และระยะทางที่จำกัดไม่เกิน 10 กิโลเมตร เช่นภายในองค์กรที่อยู่ในอาคารบริเวณเดียวกัน ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เชื่อมต่อกันด้วยสื่อกลางประเภทใดประเภทหนึ่ง
2.  ระบบเครือข่ายระดับเมือง Metropolitan Area Nework : MAN เป็นระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบเครือข่ายท้องถิ่น โดยครอบคลุมระดับเมือง
3.  ระบบเครือข่ายระดับประเทศ Wide Area Nework :  WAN  มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ คลอบคลุมพื้นที่ระดับประเทศหรือข้ามทวีป
การจำแนกระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตามหน้าที่การทำงานในเครือข่าย
1.  ระบบเครือข่ายแบบเท่าเทียมกัน เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่ายมีสิทธิเท่าเทียมกันในการจัดการระบบเครือข่าย เป็นระบบขนาดเล็ก มีเครื่องไม่มากนัก ไม่จำเป็นต้องมีผู้ดูแลและจัดการระบบ สามารถใช้งานได้ง่าย เหมาะกับองค์กรขนาดเล็กมีผู้ใช้งานในระบบเครือข่ายไม่เกิน 10 คน การขยายระบบเครือข่ายทำได้ไม่มากนัก
2.  ระบบเครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ  มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้บริการแก่เครื่องคอมอื่น ๆ ที่ทำการร้องขอ  สามารถจัดการการทำงานและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบเครือข่ายได้ดีกว่าระบบเครือข่ายแบบเท่าเทียม เหมาะกับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีผู้ใช้งานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ต้องมีผู้ดูแลระบบ และมีขั้นตอนที่ซับซ้อนกว่าระบบเครือข่ายแบบเท่าเทียม
การจำแนกระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล
1.  ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่ายเพื่อติดต่อสื่อสารได้ทั่วโลก แลกเปลี่ยนข้อมูลได้อิสระ  โดยไม่มีข้อจำกัดเกี่ยวกับระยะทางและเวลา ความปลอดภัยของข้อมูลต่ำ
2.  ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายภายในองค์กร ใช้เทคโนโลยีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต  เพียงแต่เป็นการติดต่อสื่อสารกันภายในองค์กรเท่านั้น ไม่มีการเชื่อมต่ออกไปภายนอกองค์กร
3.  ระบบเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินทราเน็ตระหว่างองค์กรต่าง ๆ ที่มีการกำหนดหรือตกลงกัน เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน ให้ความสำคัญเกี่ยวกับระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
การเลือกใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เนื่องจากระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท และแต่ละประเภทมีข้อดีและข้อเสียในการใช้งานแตกต่างกัน การเลือกใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงควรพิจารณาหลักเกณฑ์ ดังนี้ คือ
1.  จำนวนผู้ใช้งานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.  การดูแลและการจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.  การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.  ปริมาณข้อมูลที่รับส่งผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
5.  ความต้องการใช้งานทรัพยากรต่าง ๆ ของผู้ใช้งานแต่ละคน   6.  งบประมาณ
มาตรฐานของระบบเครือข่าย มี 2 ประเภท คือ มาตรฐานโดยพฤตินัย หรือมาตรฐานแบบเดอฟัคโต และ มาตรฐานโดยนิตินัย หรือมาตรฐานแบบเดอ ยึอเร

ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 1  ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
2.  จุดประสงค์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คืออะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
3.  องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
4.  ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โฮสต์คอมพิวเตอร์มีหน้าที่อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
5.  ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โหนดของเครือข่ายมีหน้าที่อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
6.  ระบบเครือข่ายแบบเท่าเทียม หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
7.  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย เป็นส่วนประกอบของระบบเครือข่ายมีหน้าที่อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
8.  ระบบเครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
9.  ระบบเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
10.  มาตรฐานการสื่อสารข้อมูล เดอ ยือเร เรียกอีกอย่างว่าอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................

ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2  สื่อกลางในการส่งข้อมูล
ประเภทของสื่อกลางในการส่งข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.  สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางได้ หรือระบบใช้สาย
1.1  สายคู่ตีเกลียว แต่ละคู่ทำด้วยสายทองแดง 2 เส้น มีฉนวนหุ้ม พันกันเป็นเกลียวเพื่อป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สายคู่ตีเกลียว 1 คู่ ใช้แทน 1 ช่องทางการสื่อสาร ใช้ส่งสัญญาณได้ทั้งสัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิตอล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สายคู่ตีเกลียวชนิดไม่มีฉนวนโลหะหุ้ม ในสายเคเบิ้ล 1 เส้น ประกอบด้วยสายคู่ตีเกลียว 4 คู่ (8 เส้น) เหมาะสำหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่มีระยะห่างไม่เกิน 30 เมตร สายคู่ตีเกลียวชนิดไม่มีฉนวนโลหะแบ่งออกเป็นกลุ่ม Category ตามความเร็วในการรับส่งข้อมูล เช่น กลุ่ม Category 1 ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เท่ากับ 1 Mbps , กลุ่ม Category 2 ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เท่ากับ 4 Mbps , กลุ่ม Category 3 ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เท่ากับ 10 Mbps , กลุ่ม Category 4 ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เท่ากับ 16 Mbps , กลุ่ม Category 5 และ 5e ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เท่ากับ 100 Mbps , กลุ่ม Category 6 ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เท่ากับ 250 Mbps และ กลุ่ม Category 7 ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล เท่ากับ 600 Mbps
1.2  สายโคแอกเชียล ประกอบด้วย เส้นทองแดงอยู่ตรงกลางเพื่อใช้เป็นตัวนำสัญญาณ มีแบนด์วิธสูงถึง 500 MHz. สามารถใช้ส่งสัญญาณได้ทั้งสัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิตอล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภท 50 โอห์ม ใช้ส่งข้อมูลดิจิตอล
ประเภท 75 โอห์ม ใช้ส่งข้อมูลอนาล็อก ข้อดีของสายโคแอกเซียล สามารถใช้งานได้ในระยะทางไกล ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี ข้อเสียคือราคาแพง สายมีขนาดใหญ่ การติดตั้งคอนเน็กเตอร์ทำได้ยาก
1.3  สายใยแก้วนำแสง  ประกอบด้วย แกนนำแสงซึ่งทำด้วยแก้ว เรียกว่าท่อใยแก้วนำแสง มีขนาดเล็กประมาณเท่าเส้นผมแกนนำแสง 1 อัน ประกอบด้วยท่อใยแก้วนำแสงจำนวนมาก แก้วสำหรับห่อหุ้มแกนนำแสงเรียกว่า Reflective Cladding วัสดุห่อหุ้มภายนอกเรียกว่า Protection Buffer การส่งข้อมูล สัญญาณของข้อมูลดิจิตอล (0 และ1) จะถูกแปลงเป็นสัญญาณแสงที่มีความเข้มของแสงต่างระดับกัน
ประเภทของสายใยแก้วนำแสง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.  Multi Mode Step Index ใช้หลักการให้แสงสะท้อนด้วยมุมต่าง ๆ จนถึงปลายทาง ราคาไม่แพง ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลปานกลาง
2.  Graded Index Multi Mode ใช้หลักการทำให้เกิดจุดรวมของการสะท้อนแสง ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลดีกว่าชนิด Multi Mode Step Index
3.  Single Mode เป็นสายใยแก้วนำแสงที่มีความเร็วในการส่งข้อมูลมากที่สุด โดยใช้หลักการส่งสัญญาณแสงออกไปเป็นเส้นตรง ไม่มีการสะท้อนแสง
2.  สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้ หรือระบบไร้สาย
1.1.  คลื่นไมโครเวฟ รับส่งสัญญาณใช้จานสะท้อนรูปพาราโบลา ข้อมูลจะส่งต่อ ๆ กันไป เดินทางเป็นเส้นตรง ครอบคลุมพื้นที่     30 – 50 กิโลเมตร ใช้ความถี่ช่วง 2 – 40 GHz.
1.2  แสงอินฟราเรด ใชในการสื่อสารข้อมูลระยะใกล้ ๆ สื่อสารในบริเวณห้องเดียวกัน นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์เท่านั้น มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลไม่สูงประมาณ 4 Mbps
1.3  ระบบสื่อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณ สามารถใช้ได้กับหลายสถานี มีการควบคุมไม่ให้ชนกันโดยวิธี CSMA ใช้ความถี่ในช่วง 400 – 900 MHz.
1.4  ระบบดาวเทียม  ทำงานคล้ายคลื่นไมโครเวฟ ส่งสัญญาณข้อมูลจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม เรียกว่าสัญญาณอัปลิงค์ ส่งสัญญาณจากดาวเทียมมายังพื้นดิน เรียกว่าสัญญาณดาวน์ลิงค์ อุปกรณ์รับส่งเรียกว่า Transopnder ทำหน้าที่รับส่งสัญญาณและขยายสัญญาณระหว่างพื้นโลกและดาวเทียม
1.5  บลูทูธ เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูล 2.5 MHz. ระยะทางไม่เกิน 10 เมตร ผ่านวัตถุทึบแสงได้ สื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลาย ๆ อุปกรณ์ได้
หลักการพิจารณา
1.  ต้นทุน
2.  ความเร็ว
3.  ระยะทาง
4.  สภาพแวดล้อม
5.  ความปลอดภัยของข้อมูล
     

ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 2  สื่อกลางในการส่งข้อมูล
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  จงยกตัวอย่างสื่อกลางประเภทที่สามารถกำหนดเส้นทางได้มา 2 ชนิด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
2.  จงยกตัวอย่างสื่อกลางประเภทที่สามารถกำหนดเส้นทางไม่ได้มา 2 ชนิด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
3.  สายคู่ตีเกลียวชนิดไม่มีฉนวนโลหะ Category 5 สามารถส่งสัญญาณข้อมูลด้วยความเร็วเท่าไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
4.  สายโคแอกเซียลประเภท 50 โอห์ม ใช้ในการส่งข้อมูลประเภทใด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
5.  สายใยแก้วนำแสงประเภทใด สามารถส่งสัญญาณข้อมูลได้เร็วที่สุด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
6.  การใช้งานสายใยแก้วนำแสง ในการแปลงสัญญาณแสงให้เป็นกระแสไฟฟ้า ต้องใช้อุปกรณ์อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
7.  สถานีหนึ่ง ๆ ของคลื่นไมโครเวฟครอบคลุมพื้นที่ในการรับสัญญาณได้เท่าไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
8.  แสงอินฟราเรดสามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วเท่าไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
9.  การส่งสัญญาณข้อมูลจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม เรียกว่าอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
10.  ข้อแตกต่างระหว่างแสงอินฟาเรดและบลูทูธ คืออะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................

ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  การเชื่อมต่อเครือข่าย
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย หมายถึงการสร้างเส้นทางการสื่อสารเพื่อส่งข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง แบ่งเป็น 2 รูปแบบคือ
1.  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด เป็นการเชื่อมต่อสื่อกลางระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่องเท่านั้น สื่อกลางระหว่างอุปกรณ์ต้นทางและอุปกรณ์ปลายทางจะถูกจองการใช้งานตลอดเวลา การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบนี้ เหมาะกับงานที่มีการรับ/ส่งข้อมูลมาก ๆ และต่อเนื่องตลอดเวลา
2.  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบหลายจุด หรือรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบแพร่กระจาย การส่งข้อมูลในแต่ละครั้งมักใช้สื่อกลางไม่เต็มประสิทธิภาพ ใช้ช่องสัญญาณของสื่อกลางเดียว แค่สามารถเชื่อมโยงอุปกรณ์ได้หลายเครื่องพร้อม ๆ กัน ซึ่งข้อมูลที่ส่งออกมาจากผู้ส่งจะแพร่กระจายไปยังทุกจุดในช่องสัญญาณนั้น มีการกำหนดตำแหน่งของอุปกรณ์ปลายทางรวมไปกับข้อมูล ทำการส่งข้อมูลออกมาพร้อมกันข้อมูลจะชนกันทำให้เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ จึงต้องมีศูนย์กลาง เพื่อทำหน้าที่ควบคุมทิศทางของข้อมูลและแบ่งการใช้ช่องทางการสื่อสาร เหมาะสำหรับการรับ/ส่งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่องและในการส่งข้อมูลแต่ละครั้งมีจำนวนไม่มาก
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย  หมายถึง ลักษณะหรือรูปทรงในการเชื่อมต่ออุปกรณ์การสื่อสารต่าง ๆ ในเครือข่าย แบ่งออกเป็นลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ คือ
1.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส เป็นโครงสร้างที่มีการเชื่อมต่ออุปกรณ์การสื่อสารต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์เข้าดัวยกันเป็นเครือข่าย โดยวีการใช้สายสัญญาณ 1 เส้นเป็นสายสัญญาณหลัก หรือโดยวิธีการใช้สายสัญญาณหลาย ๆ เส้นมาเชื่อมต่อกันเป็นทอด ๆ
1.1  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Multi – drop มีสายสัญญาณหลัก 1 เส้น ซึ่งสายสัญญาณหลักที่นิยมใช้คือสายโคแอกเชียลอย่างหนา ความยาวแต่ละเซกเมนต์มีได้ไม่เกิน 500 เมตร จำนวนโหนดไม่เกิน 100 โหนด
1.2  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Daisy Chain เป็นการเชื่อมต่อโหนดต่าง ๆ ด้วยสายสัญญาณเป็นทอด ๆ กันไปในลักษณะเชิงเส้นตรง โดยทั่วไปนิยมใช้สายโคแอกเชียลอย่างบาง ความยาวของแต่ละเซกเมนต์ สามารถมีได้ไม่เกิน 200 เมตร มีโหนดได้ไม่เกิน 30 โหนด
2.  โครงสร้างการเชื่อมต่อแบบวงแหวน  เชื่อมต่อที่แต่ละโหนดในเครือข่ายมีจุดเชื่อมต่อทั้งสองด้าน เพื่อเชื่อมต่อโหนดต้นทางและโหนดปลายทางเข้าด้วยกันในลักษะเป็นวงกลม
3.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว วิธีนี้ใช้อุปกรณ์รวมสัญญาณประเภท Switching Hub ซึ่งการรับส่งข้อมูลข่าวสารภายในเครือข่ายไม่มีการแพร่กระจายไปยังทุก ๆ โหนด ระบุการนำข้อมูลจากโหนดหนึ่งเพื่อส่งไปยังอีกโหนดหนึ่งได้ โดยอาศัยตำแหน่งประจำตัวของแต่ละโหนด  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาวนี้แบ่งออกเป็นลักษณะต่าง  ๆ ดังนี้
3.1  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Star Hub การรับส่งข้อมูลข่าวสาวภายในเครือข่าย จะแพร่กระจายไปยังทุกโหนด ไม่สามารถระบุเฉพาะโหนดใดโหนดหนึ่งได้
3.2  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Switched Hub รับส่งข้อมูลข่าวสารภายในเครือข่ายไม่มีการแพร่กระจายไปยังทุกโหนด สามารถระบุการนำข้อมูลข่าวสารจากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่งได้
3.3  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Daisy Chain Hub เชื่อมต่อระหว่างฮับที่อยู่ห่างไกลไม่เกิน 200 เมตร และในแต่ละเซกเมนสต์สามารถเชื่อมต่อจำนวนโหนดได้ไม่เกิน 30 โหนด ลักษณะการเชื่อมต่อระหว่างฮับเป็นการเชื่อมต่อโดยใช้พอร์ตพิเศษ ใช้สายสัญญาณประเภทสายโคแอกเชียลอย่างบาง และ BNC Cable Connector
3.4  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Cascade Hub เชื่อมต่อพ่วงกันเป็นแนวยาวเชิงเส้นตรง ไม่ต้องใช้พอร์ตพิเศษของฮับในการเชื่อมต่อ แต่ใช้พอร์ตที่ใช้เชื่อมต่อแต่ละโหนดในเครือข่าย ข้อเสียส่งข้อมุลในเครือข่ายช้า
4.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม  เป็นโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายที่ประกอบด้วยลักษณะการเชื่อมต่อหลาย ๆ แบบมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย

  

ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 3  การเชื่อมต่อเครือข่าย
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
2.  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
3.  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบหลายจุด หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
4.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
5.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Multi – drop  มีลักษณะการเชื่อมต่ออย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
6.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Daisy Chain มีลักษณะการเชื่อมต่อย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
7.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน มีลักษณะการเชื่อมต่ออย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
8.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Star Hub มีลักษณะการรับส่งข้อมูลข่าวสารอย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
9.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Switched Hub มีลักษณะการรับส่งข้อมูลข่าวสารอย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
10.  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Cascade Hub มีลักษณะการเชื่อมต่ออย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................

ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึงซอฟแวร์ที่ใช้ในการควบคุมการทำงานของระบบเครือข่าย โดยทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายและการนำเข้าไปใช้ทรัพยากรที่อยู่ในเครือข่าย
บริการต่าง ๆ ของระบบปฏิบัติการเครือข่าย ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ผู้ใช้งานต้องพิจารณาเลือกใช้ตามความเหมาะสมของระบบงาน ซึ่งบริการของระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ควรพิจารณาก่อนการตัดสินใจเลือกใช้ มีดังนี้ คือ
1.  การบริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ ถือเป็นจุดประสงค์หลักของการสร้างระบบเครือข่าย เพื่อใช้ในการควบคุมการเข้าใช้ทรัพยากร
2.  การบริการดูแลและจัดการระบบ หมายถึงการจัดการเกี่ยวกับรายละเอียดของผู้ใช้งาน การควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในเครือข่าย เพื่อทราบถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นเพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหานั้นได้ทันเวลา
3.  การบริการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพราะถ้าข้อมูลในระบบเครือข่ายถูกทำลายไปทำให้เกิดความเสียหายได้ นอกจากนี้ข้อมูลบางอย่างที่เป็นความลับขององค์กรจะต้องมีการจำกัดสิทธิการเข้าถึงข้อมูลเหล่านั้น
4.  การบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต หมายถึงการบริการทางด้านดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ เว๊บเซิร์ฟเวอร์ เมลเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งเป็นการบริการที่ช่วยให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารในระบบเครือข่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
5.  การบริการมัลติโพรเซสซิ่งและคลัสเตอร์ริ่ง  ระบบเครือข่ายที่ดีควรเป็นระบบที่มีความเชื่อถือได้ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถขยายระบบเครือข่ายได้ง่ายโดยไม่มีผลทำให้ระบบต้องหยุดชะงัก
6.  บริการอื่น ๆ เช่น การให้บริการฐานข้อมูล ความสามารถในการขยายระบบเครือข่าย และความสามารถในการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการเครือข่าย ที่นิยม มีดังนี้
1.  MicroSoft Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ผลิตขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ แต่ละรุ่นมีการให้ความสำคัญเกี่ยวกับการบริการในด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน แต่บริการหลัก ๆ ที่เหมือนกันคือ
1.1  การบริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ของ Microsoft Windows Server ใช้ระบบไฟล์ NTFS ซึ่งเป็นระบบที่สามารถกู้ข้อมูลคืนได้โดยอัตโนมัติเมื่อเกิดมีความผิดพลาดหรือล้มเหลว
1.2  การบริการดูแลและจัดการระบบของ Microsoft Windows Server 
-  MMC เป็นเครื่องมือที่รวมการบริการทั้งหมด่ของระบบไว้เพื่อความสะดวกในการใช้งาน ทำให้ผู้ดูแลระบบสามารถควบคุมระบบได้โดยใช้เครื่องมือนั้น
Web – based Administration เป็นเครื่องมือที่รวมการบริการทั้งหมดของระบบโดยใช้งานผ่านเว๊บบราวเซอร์
1.3  การบริการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลของ Microsoft Windows Server  เช่น Active Directory เป็นระบบที่ใช้ในการล็อกอินของผู้ใช้งาน ซึ่งเป็นโพรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ในการล็อคอิน มีความสามารถในการจำกัดความยาวของรหัสผ่าน และมีระบบเฝ้าตรวจสอบและป้องกันผู้บุกรุก
1.4  บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตของ Microsoft Windows Server
-  Internet Information Services (IIS) เป็นระบบที่ทำหน้าที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต เช่น HTTP FTP SMTP และ SSL เป็นต้น
Mail Services เป็นระบบที่รองรับโพรโตคอล SMTP และ โพรโตคอล ทำให้ผู้ใช้งานสามารถใช้บริการเมล์ได้

1.5  การบริการมัลติโพรเซสซิ่งและคลัสเตอร์ริ่งของ Microsoft Windows Server
-  SMP เป็นระบบที่รองรับการทำงานแบบมัลติโพรเซสเซอร์
1.6  การบริการอื่น ๆ ของ Microsoft Windows Server
การบริการจัดการอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เช่นการจัดการอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่มีความจุมาก
-  มีระบบการทำงานที่สามารถรองรับอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท RAID ได้
-  มีระบบสำรองข้อมูลซึ่งสามารถรองรับเทปหลายประเภท โดยไม่ต้องติดตั้งฮาร์ดแวร์เพิ่มเติม
2.  Red Hat Linux
ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่คิดค้นโดยไลนัส โทรวาลด์ส โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายประเภทยูกนิกซ์แบบโอเพ่นซอร์ส ซึ่งไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธ์ แต่มีข้อเสียคือใช้งานยาก
การบริการดูแลและจัดการระบบของลีนุกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพการทำงานที่ดีสำหรับการควบคุมการทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว แต่สำหรับประสิทธิภาพการทำงานบนเครือข่ายนั้นมีน้อยกว่า Microsoft Windows Server
-         GNOME เป็นเครื่องมือที่ช่วยการจัดการดูแลระบบเครือข่ายที่ทำงานแบบ Windows เช่น File Manager , User and Group Manager
-        Linuxconf เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับงานทางด้านกราฟิก เช่น การตั้งค่าต่าง ๆ ของเครือข่าย
-        Webmin เป็นเครื่องมือที่ช่วยการจัดการดูแลระบบเครือข่ายที่ทำงานในลักษณะเว๊บเบสสามารถจัดการดูแลระบบจากที่ไหนก็ได้
การบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตของลีนุกซ์ อะปาเช่ (Apache) เป็นเว๊บเซิร์ฟเวอร์ที่นิยมใช้งานมากที่สุดในปัจจุบัน สามารถใช้งานบนลีนุกซ์ได้ และเป็นซิร์ฟเวอร์ที่รองรับ CGI ที่ใช้ภาษาเพิร์ลและภาษา PHP มีราคาถูกหรืออาจนำมาให้งานได้ฟรี

  

ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 4  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
2.  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีหน้าที่อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
3.  การบริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ในระบบเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
4.  การบริการดูแลและจัดการในระบบเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
5.  การบริการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
6.  การบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตในระบบเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
7.  การบริการมัลติโพรเซสซิ่งในระบบเครือข่าย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
8.  จงอธิบายคุณสมบัติของระบบไฟล์ NTFS
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
9.  จงอธิบายคุณสมบัติของ Active Directory
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
10.  จงอธิบายคุณสมบัติของ Webmin
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
แบบทดสอบหลังเรียน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  ระบบเครือข่ายเบื้องต้น  หน่วยการเรียนรู้ที่ 2  สื่อกลางในการส่งข้อมูล 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  การเชื่อมต่อเครือข่าย  หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ก.  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน                                       ข.  มีอุปกรณ์ใช้งานที่ทันสมัย
ค.  เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของการประมวลผล                  ง.  ประหยัดงบประมาณ
2.  ข้อใด ไม่ใช่ เกณฑ์การวัดประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย
ก.  สมรรถนะ                 ข.  ความน่าเชื่อถือ                      ค.  ขนาดของเครือข่าย                ง.  ความปลอดภัยของข้อมูล
3.  ลักษณะที่สำคัญของระบบเครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ
ก.  คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีสิทธิเท่าเทียมกัน                      ข.  คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเป็นผู้ให้และผู้รับบริการ
ค.  เป็นเครือข่ายขนาดเล็ก                                               ง.  มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์
4.  ข้อใดเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ก.  เครื่องคอมพิวเตอร์                ข.  แผนวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย                 ค.  สื่อกลางในการส่งข้อมูล         ง.  ถูกทุกข้อ
5.  ข้อใดเป็นกฎเกณฑ์การวัดสมรรถนะของระบบเครือข่าย
ก.  จำนวนผู้ใช้งาน                      ข.  ฮาร์ดแวร์                                          ค.  ซอฟแวร์                               ง.  ถูกทุกข้อ
6.  สื่อกลางชนิดใดมีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูงที่สุด
ก.  สายคู่ตีเกลียวมีฉนวนหุ้ม                                            ข.  สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม
ค.  สายโคแอกเชียล                                                        ง.  สายใยแก้วนำแสง
7.  การส่งสัญญาณข้อมูลด้วยความถี่สูงเป็นทอด ๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งคือระบบใด
ก.  ระบบไมโครเวฟ                     ข.  แสงอินฟาเรด                        ค.  ระบบสื่อสารวิทยุ                   ง.  ถูกทุกข้อ
8.  สายคู่เกลียวนิยมใช้ส่งสัญญาณข้อมูลประเภทใด
ก.  สัญญาณดิจิตอลอย่างเดียว                                        ข.  สัญญาณอนาล็อกอย่างเดียว
ค.  สัญญาณดิจิตอลและสัญญาณอนาล็อก                       ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
9.  ข้อใด ไม่ใช่ สื่อกลางประเภทกำหนดเส้นทางได้
ก.  สายคู่ตีเกลียว                       ข.  สายโคแอกเชียล                    ค.  คลื่นไมโครเวฟ                      ง.  สายใยแก้วนำแสง
10.  อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับ – ส่ง และขยายสัญญาณในระบบดาวเทียม เรียกว่าอะไร
ก.  Cladding                               ข.  Transponder                          ค.  Uplink                                  ง.  Downlink
11.  ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด
ก.  เชื่อมสื่อกลางเข้ากับอุปกรณ์สองเครื่อง                                    ข.  ส่งข้อมูลเป็นทอด ๆ จนถึงปลายทาง
ค.  ข้อมูลที่ส่งต้องระบุตำแหน่งผู้รับ                                  ง.  สื่อกลางถูกจองการใช้งานตลอดเวลา


12.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Multi – drop
ก.  ใช้สายสัญญาณหลัก 1 เส้น                                         ข.  ใช้สายสัญญาณต่อเป็นทอด ๆ เชิงเส้นตรง
ค.  มีอุปกรณ์รวมสัญญาณ                                              ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
13.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Daisy Chain
ก.  ใช้สายสัญญาณหลัก 1 เส้น                                         ข.  ใช้สายสัญญาณต่อเป็นทอด ๆ เชิงเส้นตรง
ค.  มีอุปกรณ์รวมสัญญาณ                                              ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
14.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Star Hub
ก.  ส่งข้อมูลแบบแพร่กระจาย                                          ข.  ส่งข้อมูลโดยระบุตำแหน่งผู้รับ
ค.  ส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอ                                            ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
15.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Switched Hub
ก.  ส่งข้อมูลแบบแพร่กระจาย                                          ข.  ส่งข้อมูลโดยระบุตำแหน่งผู้รับ
ค.  ส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอ                                            ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
16.  ข้อใดกล่าวถึงระบบปฏิบัติการเครือข่ายได้ถูกต้อง
ก.  ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ในเครือข่าย                   ข.  เป็นซอฟแวร์ชนิดหนึ่ง
ค.  ต้องใช้งานร่วมกับระบบปฏิบัติการทั่ว ๆ ไป                   ง.  ถูกทุกข้อ
17.  Microsoft Windows Server ใช้เทคโนโลยีในการแชร์ไฟล์โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก.  NTFS                       ข.  Web DAV                  ค.  Webmin                   ง.  WWW
18.  Mail Server ในระบบ Microsoft Windows Server สามารถรองรับโพรโตคอลประเภทใด
ก.  SMTP                       ข.  POP3                       ค.  ถูกทั้งข้อ ก.และข้อ ข.                        ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
19.  ข้อใด ไม่ใช่ เครื่องมือที่ช่วยในการจัดการดูแลระบบในระบบปฏิบัติการเครือข่ายลีนุกซ์
ก.  GNOME                    ข.  Linuxconf                 ค.  MMC                                   ง.  Webmin
20.  การบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตของลีนุกซ์ เซิร์ฟเวอร์ใดที่นิยมใช้มากที่สุด
ก.  Apache                    ข.  POP3                       ค.  DHCP                                   ง.  FTP


คะแนนเต็ม  .................  คะแนน  คะแนนที่ได้  ..................  คะแนน     ลงชื่อ  .............................................................  ผู้ตรวจ 
 ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
แบบทดสอบก่อนเรียน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5  การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย  หน่วยการเรียนรู้ที่ 6  อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย  
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7  ระบบเครือข่ายท้องถิ่น  หน่วยการเรียนรู้ที่ 8  ระบบเครือข่ายไร้สาย
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  การ์ดเชื่ต่ครืข่ ้ตัรย
.  LAN                            .       NIC                          .  PCI                    ง.MAC
2.  อุป์ที่ทน้ที่ขสัญพื่พิ่างารเชื่ต่อ คือ
.  Repeater                       .  Bridge                          .  Hub                   .  Router
3 . ุป์ที่ทาหน้าที่เป็นตัวรสาแลสัญาณ คือ
.  Repeater                       .  Bridge                          .  Hub                   ง.  Router
4. ุปครืข่ยใดทีสาาร้างส้นทางสมืาริดต่ด้
.  Hub                             .  Bridge                          .  Switch                .  Router
5. ุปครืข่ยใดที่สาารส้นทางติดต่ด้
.  Hub                             .  Bridge                          .  Switch                .  Router
6. ุปครืข่ยใดที่ใช้แกกลุ่ครืข่ออกกัน
.  Hub                             .  Bridge                          ค.  Switch                .  Router
7.  ครืข่ท้งถิ่ที่ด้ับควานิยมสูงุดนปัจุบันครืข่ท้งถินแบบ ?
 ครืข่ท้งถิ่แบบิง                            ครืข่ท้งถิ่แบบ FDDI
 ครืข่ท้งถิ่แบบเธน็ต                          ง.       ครืข่ท้งถิ่แบบส์ทน็ต
8.  าตฐาน IEEE 802.11b ครืข่้สาารับส่ข้ด้ัตเร็วสูสุดท่า ?
. 11มกะบิตต่ินที                                        .  22 มกะบิตต่ินที

.  24 มกะบิตต่ินที                                      ง.  54มกะบิตต่ินที
9.  มาตฐาน IEEE 802.11a ครืข่้สาารับส่ข้ด้ัตเร็ว สูสุดท่า ?
. 11มกะบิตต่ินที                                        .  22 มกะบิตต่ินที
.  24 มกะบิตต่ินที                                      .  54มกะบิตต่ินที
10.  เครืข่้สาาตฐาน  IEEE 802.11g ใช้สัาณิท่าควาาร้งาน ?
. 1.2 กะ์                                              .  2.4 กะ

.  3.5กะ์                                             .  5 กะ
11.  เทคนิคการส่งข้อมูลผ่านสื่อกลางในระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็นกี่วิธี
ก.  2  วิธี                           ข.  3  วิธี                           ค.  4  วิธี                           ง.  ไม่มีข้อถูก
12.  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลที่ส่งออกมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อให้สามารถส่งผ่านสื่อกลางได้ หมายถึงอุปกรณ์ชนิดใด
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)

 13.  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบ หมายถึงอุปกรณ์ชนิดใด
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
14.  อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโตคอลต่ารงกัน และสามารถทำการกรอง เลือกเฉพาะชนิดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปในเครือข่ายได้
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  เราเตอร์ (Router)               ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
15.  อุปกรณ์ชนิดใดทำหน้าทึ่คล้าย Hub (ฮับ)
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
16.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สาย
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
17.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาโดยทั่ว ๆ ไป ของมาตรฐานต่าง ๆ ใน IEEE 802
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
18.  สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่ายไร้สาย ได้กำหนดหน้าที่การทำงาน โดยแบ่งออกเป็นระดับชั้นต่าง ๆ ได้กี่ระดับชั้น
ก.  2  ระดับชั้น                    ข.  3  ระดับชั้น                              ค.  4  ระดับชั้น                    ง.  5  ระดับชั้น 
19.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ถูกกำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers เป็นการอธิบายเกี่ยวกับคลื่นความถี่และการทำงานของคลื่นวิทยุสำหรับเครือข่ายไร้สาย
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
20.  มาตรฐาน IEEE 802.11e  สนับสนุนการทำงานด้านมัลติมีเดีย ลักษณะข้อมูลประเภทใด
ก.  voice                                   ข.  Data                                                ค.  Video                                   ง.  ถูกทุกข้อ



คะแนนเต็ม  ...............  คะแนนที่ได้  ..............  ลงชื่อ  .......................................................................  ผู้ตรวจ



ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5  การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
เทคนิคการส่งข้อมูลผ่านสื่อกลาง
เทคนิคการส่งข้อมูลผ่านสื่อกลางในระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ
1.  การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์
การส่งข้อมูลแบบเบสเบนด์ หมายถึงการส่งข้อมูลที่มีช่องทางการสื่อสารเพียงช่องเดียว ดังนั้นจึงต้องมีเทคนิคในการจัดการข้อมูล เพื่อป้องกันการชนกันของข้อมูล ซึ่งเทคนิคที่นิยมใช้คือเทคนิค CSMA/CD  
2. การส่งข้อมูลแบบบอรดแบนด์
การส่งข้อมูลแบบบอรดแบน หมายถึงการส่งข้อมูลที่มีหลายช่องทางการสื่อสาร โดยใช้ความถี่ในการส่งข้อมูลในแต่ละช่องทางการสื่อสารที่ต่างกัน เช่น การส่งสัญญาณข้อมูลและสัญญาณเสียงไปพร้อม ๆ กัน ดังนั้นสายสัญญาณประเภทนี้จึงมีราคาแพงกว่าสายสัญญาณแบบเบสแบนด์
การควบคุม การรับ/ส่ง ข้อมูลในเครือข่าย  หรือวิธีการควบคุมการเข้าใช้สื่อกลางในการส่งข้อมูล หมายถึงข้อตกลงในการรับส่ง/ข้อมูลผ่านสื่อกลาง ทุก ๆ โหนดในเครือข่ายจะต้องใช้มาตรฐานเดียวกัน
วิธีการควบคุมการ รับ/ส่งข้อมูลในเครือข่ายนี้ มีหลายวิธี แต่ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้ คือ
1.  วิธีการช่วงชิงกันส่งข้อมูล
            วิธีการช่วงชิงกันส่งข้อมูล มีหลักการส่งข้อมูล คือ
1.1  การตรวจฟังสัญญาณ  ทุก ๆ โหนดในระบบเครือข่ายที่ต้องการส่งข้อมูล จะทำการตรวจสอบสื่อกลางว่าว่างหรือไม่ โดยวิธีการส่งสัญญาณเข้าไปในสื่อกลางนั้น
1.2  ถ้าสื่อกลางไม่ว่างโหนดนั้นต้องรอและคอยส่งสัญญาณตรวจสอบเป็นระยะ ๆ
1.3  ถ้าสื่อกลางว่างจะมีสัญญาณตอบกลับให้ทราบ โหนดนั้นก็สามารถเริ่มส่งข้อมูลได้ โยการแพร่กระจายข้อมูลไปทั่วเครือข่าย ทุก ๆ โหนดในเครือข่ายสามารถเห็นข้อมูลนั้น
1.4  การส่งข้อมูลลักษณะนี้ ถ้ามีมากกว่าหนึ่งโหนดต้องส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันและได้รับสัญญาณตอบกลับว่างพร้อมกัน  ทำให้มีการส่งข้อมูลเข้าไปในสื่อกลางมากกว่าหนึ่งโหนดขั้นตอนนี้ เรียกว่า “การใช้สื่อกลางร่วมกัน”
2.  วิธีการใช้โทเคน
วิธีการใช้โทเคน มีหลักการส่งข้อมูล ดังนี้ คือ
2.1  ในเครือข่ายจะมีกลุ่มบิตควบคุมที่เรียกว่า โทเคน
2.2  โทเคนนี้ทำหน้าที่วิ่งวนไปในสื่อกลางรอบเครือข่าย เพื่อ รับ/ส่งข้อมูลจากโหนดต่าง ๆ
2.3  แต่ละโหนดจะคอยตรวจสอบสัญญาณโทเคนที่ผ่านมาว่ามีข้อมูลส่งมาถึงตนเองหรือไม่ หรือคอยตรวจสอบว่าสัญญาณโทเคนนั้นว่างให้ตนเองส่งข้อมูลไปให้โหนดอื่น ๆ หรือไม่



ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 5  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น   หน่วยการเรียนรู้ที่ 5  การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  เทคนิคการส่งข้อมูลผ่านสื่อกลางในระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็น 2 วิธี คืออะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
2.  การส่งข้อมูลที่มีช่องทางการสื่อสารเพียงช่องเดียว ดังนั้นจึงต้องมีเทคนิคในการจัดการข้อมูล เพื่อป้องกันการชนกันของข้อมูล ซึ่งเทคนิคที่นิยมใช้คือเทคนิค CSMA/CD   เป็นความหมายของการส่งข้อมูลแบบใด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
3. การส่งข้อมูลแบบบอรดแบนด์  หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
4.  วิธีการควบคุมการ รับ/ส่งข้อมูลในเครือข่ายนี้ มีหลายวิธี แต่ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีกี่วิธีอะไรบ้าง
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
5.  วิธีการช่วงชิงกันส่งข้อมูล มีหลักการส่งข้อมูล อย่างไร
 ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
6  การส่งข้อมูลถ้ามีมากกว่าหนึ่งโหนดต้องส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันและได้รับสัญญาณตอบกลับว่างพร้อมกัน  ทำให้มีการส่งข้อมูลเข้าไปในสื่อกลางมากกว่าหนึ่งโหนดขั้นตอนนี้ เรียกว่าอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................ 
7.  วิธีการใช้โทเคน มีหลักการส่งข้อมูล อย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................


ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6  อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย
อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย
อุปกรณ์พื้นฐานสำหรับเครือข่ายที่พบทั่ว ๆ ไป มีดังนี้ คือ
1.  โมเด็ม (Modem)  โมเด็มเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลที่ส่งออกมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อให้สามารถส่งผ่านสื่อกลางได้ ขั้นตอนนี้เรียกว่า Modulate และเมื่อสัญญาณข้อมูลนั้นถูกส่งไปถึงปลายทาง โมเด็มของผู้รับปลายทางจะทำการแปลงสัญญาณอนาล็อกที่รับมาให้กลายเป็นสัญญาณดิจิตอล แล้วส่งให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง ขั้นตอนนี้เรียกว่า Demodulate ดังนั้นชื่อของโมเด็ม จะเป็นชื่อย่อมาจาก Modulate + DEModulate
2.  แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card : NIC)
เป็นแผงวงจรที่ใช้สำหรับการติดต่อกับระบบเครือข่าย เรียกทั่วไปว่า “การ์ดแลน” หน้าที่ของแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย มีดังนี้ คือ
-         เป็นที่พักข้อมูลที่ทำการรับ / ส่ง ในเครือข่าย
-         สร้างชุดของข้อมูล
-         เข้ารหัสข้อมูล และถอดรหัสข้อมูล
-         ตรวจสอบที่มาของข้อมูล
-         ตรวจสอบการชนกันของข้อมูล
3.  ฮับ  (Hub)เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบ
4.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub)  เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับฮับ คือ ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบเครือข่าย ต่างกันที่ ฮับจะทำการส่งข้อมูลโดยแพร่กระจายไปยังทุกโหนดในระบบเครือข่าย โดยไม่คำนึงว่าข้อมูลนั้นมีการระบุผู้รับหรือไม่ ส่วนสวิตชิ่งฮับจะทำการส่งข้อมูลโดยพิจารณาการกำหนดเส้นทางจากตารางตำแหน่งของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง เพื่อให้ข้อมูลเดินทางไปยังผู้รับที่ระบุโดยตรง
5.  รีฟีตเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ทบทวนสัญญาณ เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลนั้นในระยะไกลได้ นำมาใช้งานกรณีที่เครือข่ายนั้นต้องการต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะทางไกล
6.  บริดจ์ (Bridge)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายย่อย เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขนาดของเครือข่ายออกไปได้เรื่อย ๆ โดยที่ประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายไม่ลดลงมากนัก เพราะการสื่อสารภายในเครือข่ายย่อยไม่ถูกส่งผ่านบริดจ์
7.  เราเตอร์ (Router) อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโตคอลต่ารงกัน และสามารถทำการกรอง เลือกเฉพาะชนิดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปในเครือข่ายได้
8.  เกตเวย์  (Gateway)อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่ายที่มีความสามารถสูงสุด ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ต่างกัน สามารถแปลงข้อมูลระหว่างระบบเครือข่ายที่ต่างกันให้ติดต่อสื่อสารกันได้


ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 6  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น   หน่วยการเรียนรู้ที่ 6  อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย  อุปกรณ์พื้นฐานสำหรับเครือข่ายที่พบทั่ว ๆ ไป ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.  โมเด็ม (Modem)  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
3.  แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card : NIC) ทำหน้าที่อะไรบ้าง
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
4.  แผงวงจรที่ใช้สำหรับการติดต่อกับระบบเครือข่าย เรียกทั่วไปว่าอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
5.  อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบ ได้แก่อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
6.  อุปกรณ์ที่มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับฮับ คือ ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบเครือข่าย ต่างกันที่ ฮับจะทำการส่งข้อมูลโดยแพร่กระจายไปยังทุกโหนดในระบบเครือข่าย โดยไม่คำนึงว่าข้อมูลนั้นมีการระบุผู้รับหรือไม่ ส่วนสวิตชิ่งฮับจะทำการส่งข้อมูลโดยพิจารณาการกำหนดเส้นทางจากตารางตำแหน่งของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง เพื่อให้ข้อมูลเดินทางไปยังผู้รับที่ระบุโดยตรง คืออุปกรณ์ชนิดใด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
5.  รีฟีตเตอร์  ทำหน้าที่อะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
6.  อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายย่อย เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขนาดของเครือข่ายออกไปได้เรื่อย ๆ โดยที่ประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายไม่ลดลงมากนัก เพราะการสื่อสารภายในเครือข่ายย่อยไม่ถูกส่งผ่านบริดจ์
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
7.  อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโตคอลต่ารงกัน และสามารถทำการกรอง เลือกเฉพาะชนิดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปในเครือข่ายได้  คืออะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
8.  อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่ายที่มีความสามารถสูงสุด ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ต่างกัน สามารถแปลงข้อมูลระหว่างระบบเครือข่ายที่ต่างกันให้ติดต่อสื่อสารกันได้ คืออะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................


ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7  ระบบเครือข่ายท้องถิ่น
ความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)  หมายถึงระบบเครือข่ายที่ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เชื่อมต่อกันด้วยสื่อกลางประเภทใดประเภทหนึ่ง ที่ครอบคลุมพื้นที่หรือระยะทางที่จำกัดไม่เกิน 10 กิโลเมตร
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายท้องถิ่น เป็นระบบเครือข่ายที่นิยมนำมาใช้งานที่มีผู้ใช้งานในเครือข่ายจำนวนไม่มากนัก เพราะเป็นการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเข้าด้วยกัน เพื่อประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ คือ
1.  เพื่อการแบ่งปันการใช้งานแฟ้มข้อมูล                    2.  ทำให้ระบบสามารถปรับปรังและจัดการแฟ้มข้อมูลได้ง่าย
3.  แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว                 4สามารถใช้ข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้รวดเร็ว
5.  สามารถแบ่งปันกันใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ โมเด็ม และอื่น ๆ         6.  เพื่อการแบ่งปันการใช้งานซอฟต์แวร์ประยุกต์         7.  ประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ             8.  ควบคุมและรักษาข้อมูลได้ง่าย
มาตรฐาน IEEE 802
            การใช้งานระบบเครือข่ายท้องถิ่น จะต้องคำนึงถึงส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย สื่อกลางที่ใช้ในการส่งข้อมูล และวิธีการควบคุมการใช้สื่อกลาง และเพื่อให้ระบบเครือข่ายมีมาตรฐานในการใช้งานได้อย่างกว้างขวาง จึงมีองค์กรต่าง ๆ ได้ทำการกำหนดมาตรฐานของระบบเครือข่ายแบบต่าง ๆ ซึ่งมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับและมีการใช้งานอย่างกว้างขวางคือมาตรฐาน IEEE 802
            มาตรฐาน IEEE 802 เป็นมาตรฐานที่แบ่งออกเป็นหลายส่วน แต่ละส่วนใช้อธิบายการทำงานในลักษณะต่าง ๆ กันดังนี้ คือ
1.  มาตรฐาน IEEE 802.1 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาโดยทั่ว ๆ ไป ของมาตรฐานต่าง ๆ ใน IEEE 802
2.  มาตรฐาน IEEE 802.11 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สาย
3.  มาตรฐาน IEEE 802.15 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับระบบเครือข่ายแบบไร้สายประเภท WPAN
4.  มาตรฐาน IEEE 802.2 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับการควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทางในระบบเครือข่าย
5.  มาตรฐาน IEEE 802.3 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับการทำงานของระบบเครือข่ายท้องถิ่นประเภทอีเทอร์เน็ต
6.  มาตรฐาน IEEE 802.4 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับการทำงานของระรบบเครือข่ายท้องถิ่นประเภทโทเคนบัส
7.  มาตรฐาน IEEE 802.5 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับการทำงานของระบบเครือข่ายท้องถิ่นประเภทโทเคนริง
มาตรฐาน IEEE 802.3 หรือ อีเทอร์เน็ต
-          วิธีการส่งสัญญาณข้อมูลแบบเบสแบนด์                   -  วิธีการควบคุมการรับ/ส่ง ข้อมูลในเครือข่าย ใช้วิธี CSMA/CD
-          อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล
-          10 Mbps สำหรับโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบ 10 Base2 , 10 Base5 และ 10 Base – T
-         ปัจจุบันได้มีการพัฒนาอัตราความเร็วจาก 10 Mbps เป็น 100 Mbps หรือสูงกว่า เช่น Fast Etherner และ Gigabit Ethernet
มาตรฐาน IEEE 802.4 หรือ โทเคนบัส
-          มีโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส   -   หลักการทำงาน แต่ละโหนดในเครือข่าย เฉพาะโหนดที่เปิดใช้งาน จะประกอบเป็นวงแหวนทางตรรกะ  -   ใช้วิธีการควบคุมการรับ/ส่งข้อมุลในเครือข่าย ใช้วิธี Token Passing
มาตรฐาน IEEE 802.5 หรือ โทเคนริง
-          มีโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว
-         แต่ละโหนดจะมีหมายเลขประจำตัว ใช้วิธีการควบคุมการรับ/ส่ง ข้อมูลในเครือข่าย ใช้วิธี Token Passing



ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 7  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น   หน่วยการเรียนรู้ที่ 7  ระบบเครือข่ายท้องถิ่น
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  ความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)  หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
2.  ประโยชน์ของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
   ........................................................................................................................................................................................
3.  การใช้งานระบบเครือข่ายท้องถิ่น จะต้องคำนึงถึงส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย สื่อกลางที่ใช้ในการส่งข้อมูล และวิธีการควบคุมการใช้สื่อกลาง และเพื่อให้ระบบเครือข่ายมีมาตรฐานในการใช้งานได้อย่างกว้างขวาง จึงมีองค์กรต่าง ๆ ได้ทำการกำหนดมาตรฐานของระบบเครือข่ายแบบต่าง ๆ ซึ่งมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับและมีการใช้งานอย่างกว้างขวางคือมาตรฐานใด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
4.  มาตรฐาน IEEE 802.1 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
5.  มาตรฐาน IEEE 802.11 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
6.  มาตรฐาน IEEE 802.15 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
7.  มาตรฐาน IEEE 802.2 เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
8.    เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับการทำงานของระบบเครือข่ายท้องถิ่นประเภทอีเทอร์เน็ต ได้แก่มาตรฐานใด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
6.  เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับการทำงานของระรบบเครือข่ายท้องถิ่นประเภทโทเคนบัส ได้แก่มาตรฐานใด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
7.  เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับการทำงานของระบบเครือข่ายท้องถิ่นประเภทโทเคนริง ได้แก่มาตรฐานใด
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................

  
ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8  ระบบเครือข่ายไร้สาย
ระบบเครือข่ายไร้สาย หมายถึง เทคโนโลยีที่ทำให้อุปกรณ์การสื่อสารตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ด้วยมาตรฐานโพรโตคอลการสื่อสาร โดยปราศจากการใช้สายสัญญาณใด ๆ
ลักษณะการติดต่อสื่อสาร ระหว่างอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายไร้สาย
1.  BSS (Basic SerVice Set)  เป็นบริเวณพื้นที่การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย โดยที่อุปกรณ์ภายใน BSS สามารถติดต่อสื่อสารกันได้หลาย ๆ เครื่อง เมื่ออุปกรณ์ใดถูกเคลื่อนย้ายออกจาก BSS ก็จะไม่สามารถติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์อื่น ๆ ได้
2.  IBSS เป็นการสื่อสารแบบอิสระไม่ถูกควบคุมโดยอุปกรณ์อื่น ๆ เมื่ออุปกรณ์ใดเปิดทำการ จะตรวจสอบว่ามี BSS ครอบคลุมอยู่หรือไม่ ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า DSS ซึ่งภายใน DSS มีบริการที่เรียกว่า DS ทำหน้าที่ประสานงานกับ BSS อื่นที่อยู่ใกล้เคียง เพื่อทำการเชื่อมโยงระหว่าง BSS เข้าด้วยกัน ทำให้เกิดเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่มีผู้ใช้งานจำนวนมาก การสื่อสารวิธีนี้จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ควบคุมการดูแลพื้นที่ของการสื่อสาร เรียกอุปกรณ์นี้ว่า AP
สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่ายไร้สาย
สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่ายไร้สาย ได้กำหนดหน้าที่การทำงาน โดยแบ่งออกเป็นระดับชั้นต่าง ๆ 3 ระดับชั้น คือ
1.  ระดับชั้น Physical                               2.  ระดับชั้น Data Link                            3.  ระดับชั้น Network
มาตรฐาน IEEE 802.11 เป็นมาตรฐานที่ถูกกำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers เป็นการอธิบายเกี่ยวกับคลื่นความถี่และการทำงานของคลื่นวิทยุสำหรับเครือข่ายไร้สาย แบ่งออกเป็นมาตรฐานต่าง ๆ ดังนี้ คือ
1.  มาตรฐาน IEEE 802.11a มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูง 54 Mbps ค่าใช้จ่ายสูง
2.  มาตรฐาน IEEE 802.11b มาตรฐานของเครือข่ายไร้สายที่ทำงานที่ย่านความถี่ 2.4 GHz. มีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล 11 Mbps โดยใช้คลื่นวิทยุเป็นช่องสัญญาณ
3.  มาตรฐาน IEEE 802.11e  สนับสนุนการทำงานมัลติมีเดีย เหมาะสำหรับหน่วยงานที่ต้องการประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลประเภท Voice , Data , Video
4.  มาตรฐาน IEEE 802.11g มาตรฐานของเครือข่ายไร้สายที่ทำงานที่ย่านความถี่ 2.4 GHz.  อัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลตั้งแต่ 2 Mbps ถึง 22 Mbps ใช้คลื่นวิทยุเป็นช่องสัญญาณ สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายที่ใช้มาตรฐาน IEEE 802.11b ได้
ประเภทของระบบเครือข่ายไร้สาย
ระบบเครือข่ายไร้สาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.  ระบบเครือข่ายไร้สายแบบ Peer to Peer หรือ แบบ AD – hoc
2.  ระบบเครือข่ายไร้สายแบบที่ต้องใช้อุปกรณ์ Access Point หรือเรียกอีกอย่างว่า Base Station

  


ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
ใบงานที่ 8  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น   หน่วยการเรียนรู้ที่ 8  ระบบเครือข่ายไร้สาย
ตอนที่ 1  จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1.  ระบบเครือข่ายไร้สาย หมายถึงอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
2.  ลักษณะการติดต่อสื่อสาร ระหว่างอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายไร้สาย ระบบ BSS เป็นอย่างไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
3.  IBSS เป็นการสื่อสารแบบอิสระไม่ถูกควบคุมโดยอุปกรณ์อื่น ๆ เมื่ออุปกรณ์ใดเปิดทำการ จะตรวจสอบว่ามี BSS ครอบคลุมอยู่หรือไม่ ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า DSS ซึ่งภายใน DSS มีบริการที่เรียกว่า DS ทำหน้าที่ประสานงานกับ BSS อื่นที่อยู่ใกล้เคียง เพื่อทำการเชื่อมโยงระหว่าง BSS เข้าด้วยกัน ทำให้เกิดเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่มีผู้ใช้งานจำนวนมาก การสื่อสารวิธีนี้จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ควบคุมการดูแลพื้นที่ของการสื่อสาร เรียกอุปกรณ์นี้ว่าอะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
4.  สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่ายไร้สาย ได้กำหนดหน้าที่การทำงาน โดยแบ่งออกเป็นระดับชั้นต่าง ๆ 3 ระดับชั้น คืออะไร
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
5.  มาตรฐาน IEEE 802.11 เป็นมาตรฐานที่ถูกกำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers เป็นการอธิบายเกี่ยวกับคลื่นความถี่และการทำงานของคลื่นวิทยุสำหรับเครือข่ายไร้สาย แบ่งออกเป็นมาตรฐานต่าง ๆ ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................ 6.  ประเภทของระบบเครือข่ายไร้สาย แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ   ........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................



ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
แบบทดสอบหลังเรียน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5  การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย  หน่วยการเรียนรู้ที่ 6  อุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย  
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7  ระบบเครือข่ายท้องถิ่น  หน่วยการเรียนรู้ที่ 8  ระบบเครือข่ายไร้สาย
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  การ์ดเชื่ต่ครืข่ ้ตัรย
.  LAN                            .       NIC                          .  PCI                    ง.MAC
2.  อุป์ที่ทน้ที่ขสัญพื่พิ่างารเชื่ต่อ คือ
.  Repeater                       .  Bridge                          .  Hub                   .  Router
3 . ุป์ที่ทาหน้าที่เป็นตัวรสาแลสัญาณ คือ
.  Repeater                       .  Bridge                          .  Hub                   ง.  Router
4. ุปครืข่ยใดทีสาาร้างส้นทางสมืาริดต่ด้
.  Hub                             .  Bridge                          .  Switch                .  Router
5. ุปครืข่ยใดที่สาารส้นทางติดต่ด้
.  Hub                             .  Bridge                          .  Switch                .  Router
6. ุปครืข่ยใดที่ใช้แกกลุ่ครืข่ออกกัน
.  Hub                             .  Bridge                          ค.  Switch                .  Router
7.  ครืข่ท้งถิ่ที่ด้ับควานิยมสูงุดนปัจุบันครืข่ท้งถินแบบ ?
 ครืข่ท้งถิ่แบบิง                            ครืข่ท้งถิ่แบบ FDDI
 ครืข่ท้งถิ่แบบเธน็ต                          ง.       ครืข่ท้งถิ่แบบส์ทน็ต
8.  าตฐาน IEEE 802.11b ครืข่้สาารับส่ข้ด้ัตเร็วสูสุดท่า ?
. 11มกะบิตต่ินที                                        .  22 มกะบิตต่ินที

.  24 มกะบิตต่ินที                                      ง.  54มกะบิตต่ินที
9.  มาตฐาน IEEE 802.11a ครืข่้สาารับส่ข้ด้ัตเร็ว สูสุดท่า ?
. 11มกะบิตต่ินที                                        .  22 มกะบิตต่ินที
.  24 มกะบิตต่ินที                                      .  54มกะบิตต่ินที
10.  เครืข่้สาาตฐาน  IEEE 802.11g ใช้สัาณิท่าควาาร้งาน ?
. 1.2 กะ์                                              .  2.4 กะ

.  3.5กะ์                                             .  5 กะ
11.  เทคนิคการส่งข้อมูลผ่านสื่อกลางในระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็นกี่วิธี
ก.  2  วิธี                           ข.  3  วิธี                           ค.  4  วิธี                           ง.  ไม่มีข้อถูก
12.  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลที่ส่งออกมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อให้สามารถส่งผ่านสื่อกลางได้ หมายถึงอุปกรณ์ชนิดใด
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)

 13.  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบ หมายถึงอุปกรณ์ชนิดใด
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
14.  อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโตคอลต่ารงกัน และสามารถทำการกรอง เลือกเฉพาะชนิดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปในเครือข่ายได้
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  เราเตอร์ (Router)               ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
15.  อุปกรณ์ชนิดใดทำหน้าทึ่คล้าย Hub (ฮับ)
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
16.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สาย
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
17.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาโดยทั่ว ๆ ไป ของมาตรฐานต่าง ๆ ใน IEEE 802
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
18.  สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่ายไร้สาย ได้กำหนดหน้าที่การทำงาน โดยแบ่งออกเป็นระดับชั้นต่าง ๆ ได้กี่ระดับชั้น
ก.  2  ระดับชั้น                    ข.  3  ระดับชั้น                              ค.  4  ระดับชั้น                    ง.  5  ระดับชั้น 
19.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ถูกกำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers เป็นการอธิบายเกี่ยวกับคลื่นความถี่และการทำงานของคลื่นวิทยุสำหรับเครือข่ายไร้สาย
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
20.  มาตรฐาน IEEE 802.11e  สนับสนุนการทำงานด้านมัลติมีเดีย ลักษณะข้อมูลประเภทใด
ก.  voice                                   ข.  Data                                                ค.  Video                                   ง.  ถูกทุกข้อ


คะแนนเต็ม  ...............  คะแนนที่ได้  ..............  ลงชื่อ  .......................................................................  ผู้ตรวจ


  

ชื่อ – นามสกุล  ...............................................................................................  รหัสนักศึกษา  ...................  เทอม  ..................
แบบทดสอบระหว่างภาค  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ก.  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน                                       ข.  มีอุปกรณ์ใช้งานที่ทันสมัย
ค.  เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของการประมวลผล                  ง.  ประหยัดงบประมาณ
2.  ข้อใด ไม่ใช่ เกณฑ์การวัดประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย
ก.  สมรรถนะ                 ข.  ความน่าเชื่อถือ                      ค.  ขนาดของเครือข่าย                ง.  ความปลอดภัยของข้อมูล
3.  ลักษณะที่สำคัญของระบบเครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ
ก.  คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีสิทธิเท่าเทียมกัน                      ข.  คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเป็นผู้ให้และผู้รับบริการ
ค.  เป็นเครือข่ายขนาดเล็ก                                               ง.  มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์
4.  ข้อใดเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ก.  เครื่องคอมพิวเตอร์                ข.  แผนวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย                 ค.  สื่อกลางในการส่งข้อมูล         ง.  ถูกทุกข้อ
5.  ข้อใดเป็นกฎเกณฑ์การวัดสมรรถนะของระบบเครือข่าย
ก.  จำนวนผู้ใช้งาน                      ข.  ฮาร์ดแวร์                                          ค.  ซอฟแวร์                               ง.  ถูกทุกข้อ
6.  สื่อกลางชนิดใดมีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูงที่สุด
ก.  สายคู่ตีเกลียวมีฉนวนหุ้ม        ข.  สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม                 ค.  สายโคแอกเชียล           ง.  สายใยแก้วนำแสง
7.  การส่งสัญญาณข้อมูลด้วยความถี่สูงเป็นทอด ๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งคือระบบใด
ก.  ระบบไมโครเวฟ                     ข.  แสงอินฟาเรด                        ค.  ระบบสื่อสารวิทยุ                   ง.  ถูกทุกข้อ
8.  สายคู่เกลียวนิยมใช้ส่งสัญญาณข้อมูลประเภทใด
ก.  สัญญาณดิจิตอลอย่างเดียว                                        ข.  สัญญาณอนาล็อกอย่างเดียว
ค.  สัญญาณดิจิตอลและสัญญาณอนาล็อก                       ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
9.  ข้อใด ไม่ใช่ สื่อกลางประเภทกำหนดเส้นทางได้
ก.  สายคู่ตีเกลียว                       ข.  สายโคแอกเชียล                    ค.  คลื่นไมโครเวฟ                      ง.  สายใยแก้วนำแสง
10.  อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับ – ส่ง และขยายสัญญาณในระบบดาวเทียม เรียกว่าอะไร
ก.  Cladding                               ข.  Transponder                          ค.  Uplink                                  ง.  Downlink
11.  ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด
ก.  เชื่อมสื่อกลางเข้ากับอุปกรณ์สองเครื่อง                                    ข.  ส่งข้อมูลเป็นทอด ๆ จนถึงปลายทาง
ค.  ข้อมูลที่ส่งต้องระบุตำแหน่งผู้รับ                                  ง.  สื่อกลางถูกจองการใช้งานตลอดเวลา
12.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Multi – drop
ก.  ใช้สายสัญญาณหลัก 1 เส้น                                         ข.  ใช้สายสัญญาณต่อเป็นทอด ๆ เชิงเส้นตรง
ค.  มีอุปกรณ์รวมสัญญาณ                                              ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง



13.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Daisy Chain
ก.  ใช้สายสัญญาณหลัก 1 เส้น                                         ข.  ใช้สายสัญญาณต่อเป็นทอด ๆ เชิงเส้นตรง
ค.  มีอุปกรณ์รวมสัญญาณ                                              ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
14.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Star Hub
ก.  ส่งข้อมูลแบบแพร่กระจาย                                          ข.  ส่งข้อมูลโดยระบุตำแหน่งผู้รับ
ค.  ส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอ                                            ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
15.  ข้อใดคือลักษณะของโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยวิธีการใช้ Switched Hub
ก.  ส่งข้อมูลแบบแพร่กระจาย                                          ข.  ส่งข้อมูลโดยระบุตำแหน่งผู้รับ
ค.  ส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอ                                            ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
16.  ข้อใดกล่าวถึงระบบปฏิบัติการเครือข่ายได้ถูกต้อง
ก.  ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ในเครือข่าย                   ข.  เป็นซอฟแวร์ชนิดหนึ่ง
ค.  ต้องใช้งานร่วมกับระบบปฏิบัติการทั่ว ๆ ไป                   ง.  ถูกทุกข้อ
17.  Microsoft Windows Server ใช้เทคโนโลยีในการแชร์ไฟล์โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก.  NTFS                       ข.  Web DAV                  ค.  Webmin                               ง.  WWW
18.  Mail Server ในระบบ Microsoft Windows Server สามารถรองรับโพรโตคอลประเภทใด
ก.  SMTP                       ข.  POP3                       ค.  ถูกทั้งข้อ ก.และข้อ ข.                        ง.  ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
19.  ข้อใด ไม่ใช่ เครื่องมือที่ช่วยในการจัดการดูแลระบบในระบบปฏิบัติการเครือข่ายลีนุกซ์
ก.  GNOME                    ข.  Linuxconf                 ค.  MMC                                   ง.  Webmin
20.  การบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตของลีนุกซ์ เซิร์ฟเวอร์ใดที่นิยมใช้มากที่สุด
ก.  Apache                    ข.  POP3                       ค.  DHCP                                   ง.  FTP
21.  การ์ดเชื่ต่ครืข่ ้ตัรย
.  LAN                            .       NIC                          .  PCI                    ง.MAC
22.  อุป์ที่ทน้ที่ขสัญพื่พิ่างารเชื่ต่อ คือ
.  Repeater                       .  Bridge                          .  Hub                   .  Router
23 . ุป์ที่ทาหน้าที่เป็นตัวรสาแลสัญาณ คือ
.  Repeater                       .  Bridge                          .  Hub                   ง.  Router
24. ุปครืข่ยใดทีสาาร้างส้นทางสมืาริดต่ด้
.  Hub                             .  Bridge                          .  Switch                .  Router
25. ุปครืข่ยใดที่สาารส้นทางติดต่ด้
.  Hub                             .  Bridge                          .  Switch                .  Router
26. ุปครืข่ยใดที่ใช้แกกลุ่ครืข่ออกกัน
.  Hub                             .  Bridge                          ค.  Switch                .  Router
27.  ครืข่ท้งถิ่ที่ด้ับควานิยมสูงุดนปัจุบันครืข่ท้งถินแบบ ?
 ครืข่ท้งถิ่แบบิง                            ครืข่ท้งถิ่แบบ FDDI
 ครืข่ท้งถิ่แบบเธน็ต                          ง.       ครืข่ท้งถิ่แบบส์ทน็ต

28.  าตฐาน IEEE 802.11b ครืข่้สาารับส่ข้ด้ัตเร็วสูสุดท่า ?
. 11มกะบิตต่ินที           .  22 มกะบิตต่ินที          .  24 มกะบิตต่ินที         .  54มกะบิตต่ินที
29.  มาตฐาน IEEE 802.11a ครืข่้สาารับส่ข้ด้ัตเร็ว สูสุดท่า ?
. 11มกะบิตต่ินที           .  22 มกะบิตต่ินที          .  24 มกะบิตต่ินที         .  54มกะบิตต่ินที
30.  เครืข่้สาาตฐาน  IEEE 802.11g ใช้สัาณิท่าควาาร้งาน ?
. 1.2 กะ์                 .  2.4 กะ                .  3.5กะ์                .  5 กะ
31.  เทคนิคการส่งข้อมูลผ่านสื่อกลางในระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็นกี่วิธี
ก.  2  วิธี                           ข.  3  วิธี                           ค.  4  วิธี                           ง.  ไม่มีข้อถูก
32.  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลที่ส่งออกมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อให้สามารถส่งผ่านสื่อกลางได้ หมายถึงอุปกรณ์ชนิดใด
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
33.  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รวมสัญญาณ หรือเป็นจุดเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าในระบบ หมายถึงอุปกรณ์ชนิดใด
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
34.  อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโตคอลต่ารงกัน และสามารถทำการกรอง เลือกเฉพาะชนิดของข้อมูลที่ระบุไว้ว่าให้ผ่านไปในเครือข่ายได้
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  เราเตอร์ (Router)               ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
35.  อุปกรณ์ชนิดใดทำหน้าทึ่คล้าย Hub (ฮับ)
ก.  โมเด็ม (Modem              ข.  สวิตซิ่งฮับ (Switching Hub  ค.  ฮับ (Hub)                       ง.  รีฟีตเตอร์ (Repeater)
36.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สาย
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
37.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาโดยทั่ว ๆ ไป ของมาตรฐานต่าง ๆ ใน IEEE 802
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
38.  สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่ายไร้สาย ได้กำหนดหน้าที่การทำงาน โดยแบ่งออกเป็นระดับชั้นต่าง ๆ ได้กี่ระดับชั้น
ก.  2  ระดับชั้น                    ข.  3  ระดับชั้น                              ค.  4  ระดับชั้น                    ง.  5  ระดับชั้น 
39.  มาตรฐาน IEEE 802 ใด เป็นมาตรฐานที่ถูกกำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers เป็นการอธิบายเกี่ยวกับคลื่นความถี่และการทำงานของคลื่นวิทยุสำหรับเครือข่ายไร้สาย
ก.  มาตรฐาน IEEE 802.1                        ข.  มาตรฐาน IEEE 802.11           ค.  มาตรฐาน IEEE 802.15          ง.  มาตรฐาน IEEE 802.2
40.  มาตรฐาน IEEE 802.11e  สนับสนุนการทำงานด้านมัลติมีเดีย ลักษณะข้อมูลประเภทใด
ก.  voice                                   ข.  Data                                                ค.  Video                                   ง.  ถูกทุกข้อ

        คะแนนเต็ม  ...............  คะแนนที่ได้  ..............  ลงชื่อ  .......................................................................  ผู้ตรวจ
ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ความหมายของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
          ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หมายถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ สามารถทำการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ ที่มีความแตกต่างกันทั้งขนาดทางกายภาพ สถาปัตยกรรม และหน้าที่การทำงาน ให้ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลกด้วยมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลหรือโพรโตคอล
ประวัติความเป็นมาของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
          ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เริ่มขึ้นจากโครงการเครือข่ายอาร์พาเน็ต เป็นเครือข่ายทางการทหารสังกัดกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1969 เพื่อใช้งานวิจัยด้านทหารและการติดต่อสื่อสาร
การกำหนดตำแหน่งที่อยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
          เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องมีตำแหน่งที่อยู่ไว้สำหรับอ้างอิง ตำแหน่งที่อยู่นี้เรียกว่า IP Address ซึ่งจะต้องไม่ซ้ำกัน
ระบบการแทนชื่อในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
          การกำหนดตำแหน่งที่อยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยการแทนด้วยตัวเลขนั้นสามารถจดจำได้ยาก ดังนั้นจึงได้มีการแก้ไขปัญหานี้โดยการตั้งชื่อที่เป็นตัวอักษรขึ้นมาแทน IP Address ซึ่งเรียกวิธีการนี้ว่า ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System : DNS)
การขอจดทะเบียนโดเมน
          การขอจดทะเบียนโดเมน จะต้องขอจดทะเบียนกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งชื่อโดเมนที่ขอจดทะเบียนนั้นจะต้องไม่ซ้ำกับชื่อเดิมที่มีอยู่ วิธีการขอจดทะเบียนโดเมนมี 2 วิธีด้วยกัน คือ
          1.  การขอจดทะเบียนให้เป็นโดเมนสากล ต้องขอจดทะเบียนกับหน่วยงาน www.metworksuluton.com
          2.  การขอจดทะเบียนภายใต้โดเมนระดับบนสุดของประเทศไทย ต้องขอจดทะเบียนกับหน่วยงาน www.thnic.net
การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
          การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเข้าไปใช้งานบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะต้องติดต่อผ่านหน่วยงานไอเอสพี ซึ่งสามารถทำได้ ดังนี้ คือ
          1.  การเชื่อมต่อโดยตรง
          2.  การเชื่อมต่อผ่านการหมุนโทรศัพท์
3.  การเชื่อมต่อแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่
4.  การเชื่อมต่อแบบไร้สายผ่านโทรศัพท์มือถือ WAP , GPRS
บริการต่าง ๆ บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
          บริการต่าง ๆ บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
          1.  บริการด้านการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล
          -  จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
          -  เทลเน็ต
          -  การโอนถ่ายแฟ้มข้อมูล
          -  กระดานข่าว
          -  การพูดคุยออนไลน์
          2.  บริการค้นหาข้อมูล
          -  Archie                  -  WAIS
          -  Gopher                 -  Veronica
          -  Mailing List            -  WWW
การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
          1.  การนำเสนอสินค้าและเสริมสร้างภาพพจน์
          2.  ให้ข้อมูลกับนักลงทุน
          3.  หนังสือพิมพ์และวารสารอิเล็กทรอนิกส์
          4.  เปิดร้านค้าให้เช่าที่
          5.  ให้คำปรึกษาทางด้านเทคนิค
          6.  ให้บริการต่าง ๆ กับสาธารณชน
          7.  ให้ข้อมูลข่าวสารทั่ว ๆ ไปกับสาธารณชน
          8.  เก็บรวบรวมข้อมูลและเสนอขายข้อมูล
          9.  การจำหน่ายสินค้า


  
ใบงาน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.  ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หมายถึงอะไร
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
2.  ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เริ่มขึ้นจากโครงการเครือข่ายใด สังกัดใด ใช้งานด้านใด
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
3.  การกำหนดตำแหน่งที่อยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยการแทนด้วยตัวเลขนั้นสามารถจดจำได้ยาก ดังนั้นจึงได้มีการแก้ไขปัญหานี้โดยการตั้งชื่อที่เป็นตัวอักษรขึ้นมาแทน IP Address ซึ่งเรียกวิธีการนี้ว่า อะไร
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
4.  การขอจดทะเบียนโดเมน จะต้องขอจดทะเบียนกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งชื่อโดเมนที่ขอจดทะเบียนนั้นจะต้องไม่ซ้ำกับชื่อเดิมที่มีอยู่ วิธีการขอจดทะเบียนโดเมนมีกี่วิธี อะไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
5.  การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเข้าไปใช้งานบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะต้องติดต่อผ่านหน่วยงานไอเอสพี ซึ่งสามารถทำได้ อย่างไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
6.  บริการต่าง ๆ บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถแบ่งออกเป็น กี่รูปแบบ อะไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
7.  การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถประยุกต์ใช้อย่างไรได้บ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................



ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การออกแบบระบบเครือข่าย
การประเมินความต้องการในการใช้งานระบบเครือข่าย
          การประเมินความต้องการในการใช้งานระบบเครือข่ายนี้จะต้องทำก่อนการออกแบบและระบบเครือข่ายโดยทำการวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนการทำงาน และความต้องการของผู้ใช้งานที่เกี่ยวข้องกับองค์กรนั้น ๆ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการออกแบบระบบเครือข่าย โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนในการประเมินความต้องการในการใช้งานระบบเครือข่าย มีดังนี้ คือ
1.  ทำการวิเคราะห์ระบบ
2.  พิจารณาแนวโน้มในอนาคตขององค์กรในด้านต่าง ๆ
3.  ลำดับความสำคัญของระบบงานต่าง ๆ ในองค์การ
4.  ทำการสรุปและออกแบบระบบเครือข่าย
สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบระบบเครือข่าย
          เมื่อทำการประเมินความต้องการในการใช้ระบบเครือข่ายแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการนำข้อมูลเหล่านั้นมาสรุปเพื่อทำการออกแบบระบบเครือข่าย ซึ่งในการออกแบบระบบเครือข่ายเพื่อให้สามารถรองรับการใช้งานในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ควรคำนึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ คือ
          1.  การเลือกประเภทของระบบเครือข่าย
          2.  การเลือกเทคโนโลยีของระบบเครือข่าย
          3.  การเลือกอุปกรณ์สำหรับระบบเครือข่าย
          4.  การติดตั้งสายสัญญาณ
          5.  เซิร์ฟเวอร์และการให้บริการ
          6.  การเลือกระบบปฏิบัติการเครือข่าย




ใบงาน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การออกแบบระบบเครือข่าย
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.  ขั้นตอนในการประเมินความต้องการในการใช้งานระบบเครือข่าย มีอะไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
2.  การออกแบบระบบเครือข่ายเพื่อให้สามารถรองรับการใช้งานในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ควรคำนึงถึงสิ่ง   ต่าง ๆ ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................



ใบความรู้  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 การบริหารจัดการระบบเครือข่าย
แบบอ้างอิงการบริหารจัดการระบบเครือข่าย
          แบบอ้างอิงในการบริหารจัดการระบบเครือข่าย ถูกกำหนดขึ้นโดยองค์กรมาตรฐานนานาชาติ (ISO) เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการระบบเครือข่ายแบบมีโครงสร้าง ประกอบไปด้วย 5 ข้อ ดังนี้ คือ
1.  การบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้งาน
2.  การบริหารจัดการความผิดพลาด
3.  การบริหารจัดการประสิทธิภาพ
4.  การบริหารจัดการในการกำหนดต่าง ๆ
5.  การบริหารจัดการเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย
การบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้งานในระบบเครือข่าย
1.  บัญชีผู้ใช้งาน
2.  บัญชีกลุ่มผู้ใช้งาน
การบริหารจัดการทรัพยากรในระบบเครือข่าย
1.  ดิสก์โควตา
2.  การพิมพ์
3.  ไฟล์และไดเร็กทอรี่
การบริหารจัดการประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย
1.  ฮาร์ดแวร์ของระบบเครือข่าย
2.  เน็ตเวริ์คทราฟฟิก
3.  แพ็กเก็ตข้อมูลที่เป็นขยะ
4.  การลักลอบเข้าเครือข่ายแบบ Denial – of – Service
5.  ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการตั้งค่าต่าง ๆ
การบริหารจัดการเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย
1.  ไฟร์วอลล์ เป็นระบบที่บังคับให้ใช้นโยบายการรักษาความปลอดภัยระหว่างเครือข่าย โดยมีหลักการทำงานอยู่ 2 รูปแบบ คือการอนุญาตและไม่อนุญาตที่ให้แพ็กเก็ตข้อมูลผ่านไปได้ขึ้นอยู่กับนโยบายการรักษาความปลอดภัยระหว่างเครือข่ายนั้น
2.  ระบบตรวจจับการบุกรุก เป็นเครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย ใช้สำหรับการตรวจจับความพยายามที่จะบุกรุกเครือข่าย โดยระบบจะทำการแจ้งเตือนผู้ดูแลระบบ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า IDS ไม่ใช่ระบบป้องกันการบุกรุก แต่เป็นระบบคอยตรวจจับและแจ้งเตือนภัยเท่านั้น
3.  คริพโตกราฟี หมายถึงเทคนิคการเข้ารหัส และการถอดรหัสข้อมูล เพื่อรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ส่งผ่านระบบเครือข่ายข้อมูลก่อนการเข้ารหัส เรียกว่าเคลียร์เท็กซ์ ส่วนข้อมูลที่เข้ารหัสแล้ว เรียกว่าไซเฟอร์เท็กซ์
ใบงาน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 การบริหารจัดการระบบเครือข่าย
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.  แบบอ้างอิงในการบริหารจัดการระบบเครือข่าย ถูกกำหนดขึ้นโดยองค์กรใด
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
2.  แนวทางในการบริหารจัดการระบบเครือข่ายแบบมีโครงสร้าง ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
3.  การบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้งานในระบบเครือข่าย มีกี่บัญชี
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
4.  การบริหารจัดการทรัพยากรในระบบเครือข่าย แบ่งเป็นกี่ส่วน
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
5.  การบริหารจัดการประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย มีอะไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
6.  การบริหารจัดการเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย แบ่งเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
7.  ไฟร์วอล คืออะไร
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
8.  ระบบตรวจจับการบุกรุก คืออะไร
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................
9.  คริพโตกราฟี หมายถึงอะไร
ตอบ    ...............................................................................................................................................................................
          ...............................................................................................................................................................................


ใบงาน  วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12  สถาปัตยกรรมระบบเครือข่าย
คำสั่ง : ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลในหัวข้อต่อไปนี้
1.  สถาปัตยกรรมระบบเครือข่าย รูปแบบ OSI
2.  สถาปัตยกรรมระบบเครือข่าย ชุดโพรโตคอล
3.  หน้าที่ของแต่ละระดับชั้นในสถาปัตยกรรมรูปแบบโพรโตคอล
4.  เปรียบเทียบสถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI และสถาปัตยกรรมเครือข่ายชุด โพรโตคอล